Line 423: |
Line 423: |
| นอกเหนือจากการสร้างแรงกดดันต่อรัฐบาลเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และการใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงและสิทธิพลเมืองแล้วนั้น แต่ละบุคคลสามารถที่จะเปลี่ยนการเปลี่ยนแปลงโลกของเราไปสู่การใช้คาร์บอนระดับต่ำในอนาคตได้โดยการกระทำของแต่ละบุคคล แต่ละบุคคลมีบทบาทในการที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประชากรในหลายประเทศจะมีบทบาทในการลดก๊าซนี้มากน้อยเท่าใดขึ้นอยู่กับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของแต่ละคน เช่น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารของตัวเอง เช่น การทานอาหารให้น้อยลงหรือไม่ทานเนื้อสัตว์ และพฤติกรรมในการเดินทาง เช่น ลดการขับรถให้น้อยลงหรือลดการเดินทางโดยเครื่องบินให้น้อยลง หรือลดพฤติกรรมการกินทิ้งกินขว้าง และลดพฤติกรรมในการใช้น้ำและพลังงานที่มากเกินไป พฤติกรรมเหล่านี้สามารถช่วยอนุรักษ์และปกป้องความหลากหลายทางด้านชีวภาพ ประชาชนทุกคนควรที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหล่านี้ได้โดยการปลูกจิตสานึกในชุมชนของตนเอง | | นอกเหนือจากการสร้างแรงกดดันต่อรัฐบาลเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และการใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงและสิทธิพลเมืองแล้วนั้น แต่ละบุคคลสามารถที่จะเปลี่ยนการเปลี่ยนแปลงโลกของเราไปสู่การใช้คาร์บอนระดับต่ำในอนาคตได้โดยการกระทำของแต่ละบุคคล แต่ละบุคคลมีบทบาทในการที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประชากรในหลายประเทศจะมีบทบาทในการลดก๊าซนี้มากน้อยเท่าใดขึ้นอยู่กับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของแต่ละคน เช่น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารของตัวเอง เช่น การทานอาหารให้น้อยลงหรือไม่ทานเนื้อสัตว์ และพฤติกรรมในการเดินทาง เช่น ลดการขับรถให้น้อยลงหรือลดการเดินทางโดยเครื่องบินให้น้อยลง หรือลดพฤติกรรมการกินทิ้งกินขว้าง และลดพฤติกรรมในการใช้น้ำและพลังงานที่มากเกินไป พฤติกรรมเหล่านี้สามารถช่วยอนุรักษ์และปกป้องความหลากหลายทางด้านชีวภาพ ประชาชนทุกคนควรที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหล่านี้ได้โดยการปลูกจิตสานึกในชุมชนของตนเอง |
| | | |
− | 8. การกระจายความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นธรรม | + | == 8. การกระจายความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นธรรม == |
− | | |
| ในศตวรรษที่ผ่านมา บางประเทศมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นจำนวนมากและประเทศอื่นเริ่มทำการปล่อยก๊าซพิษนี้ตามลำดับ ซึ่งเหตุผลของการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซทั่วโลกทุก ๆ ปีในขณะนี้ เป็นสาเหตุมาจากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทวีปเอเชีย ตะวันออกกลาง ทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซพิษในศตวรรษนี้เกือบทั้งหมดจะมาจากประเทศที่กำลังพัฒนา | | ในศตวรรษที่ผ่านมา บางประเทศมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นจำนวนมากและประเทศอื่นเริ่มทำการปล่อยก๊าซพิษนี้ตามลำดับ ซึ่งเหตุผลของการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซทั่วโลกทุก ๆ ปีในขณะนี้ เป็นสาเหตุมาจากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทวีปเอเชีย ตะวันออกกลาง ทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซพิษในศตวรรษนี้เกือบทั้งหมดจะมาจากประเทศที่กำลังพัฒนา |
| | | |
Line 453: |
Line 452: |
| เรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนำไปสู่คำถามเกี่ยวกับความรับผิดชอบระหว่างรุ่นของคน หมายถึงคนรุ่นเก่าได้รับผลประโยชน์มากที่สุดจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยมีผลมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ในขณะที่คนรุ่นใหม่กาลังได้รับผลที่ตามมาของการกระทำนี้ | | เรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนำไปสู่คำถามเกี่ยวกับความรับผิดชอบระหว่างรุ่นของคน หมายถึงคนรุ่นเก่าได้รับผลประโยชน์มากที่สุดจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยมีผลมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ในขณะที่คนรุ่นใหม่กาลังได้รับผลที่ตามมาของการกระทำนี้ |
| | | |
− | == 9 กลาสโกว์และนอกเหนือจากนั้น: การสร้างคาร์บอนต่ำในอนาคต/อะไรที่จำเป็นที่จะต้องทำต่อไป == | + | == '''<big>9. การประชุมสุดยอดด้านภูมิอากาศแห่งสหประชาชาติ (COP26) และก้าวต่อ ๆ ไป</big>''' == |
− | การฉุกเฉินเร่งด่วนของอากาศและระบบนิเวศได้อยู่กับเราและมีสภาพที่เลวร้ายลงเนื่องจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง และมนุษย์ยังคงทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ. ความเสียหายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเลวร้ายขึ้นที่คาดการณ์ไว้เมื่อทศวรรษก่อนหน้านี้จะเกิดขึ้นทั่วโลกแล้ว. เพื่อที่จะให้บรรลุเป้าหมายของการจากัดภาวะโลกร้อนสูงสุดที่อุณหภูมิ 1.5 องศานั้น เราจาเป็นต้องลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างหนักภายในปี 2020 ถึง 2030 และในทศวรรษข้างหน้า
| + | เรื่องฉุกเฉินเร่งด่วนของสภาพอากาศและระบบนิเวศได้เกิดขึ้นกับเราแล้วและกำลังจะเลวร้ายลงเนื่องจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องและมนุษย์ยังคงทำลายความหลากหลายทางชีวภาพ ความเสียหายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนั้นเลวร้ายกว่าที่คาดการณ์ไว้เมื่อทศวรรษก่อนหน้านี้ และเกิดขึ้นทั่วโลกแล้ว เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายการจำกัดภาวะโลกร้อนสูงสุดที่อุณหภูมิ 1.5 องศานั้น เราจำเป็นต้องลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างหนักภายในปี 2020 ถึง 2030 และในทศวรรษข้างหน้า |
| | | |
− | 5 ปีที่แล้วมีความสาเร็จในด้านการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์. พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ได้กลายเป็นพลังงานที่มีราคาถูกกว่าและนาไปใช้ได้ง่ายกว่าแหล่งพลังงานอื่นๆมากกว่าที่คาดไว้. รถยนต์ไฟฟ้ากลายเป็นยานพาหนะที่หาได้ง่ายและมีอยู่ทั่วไปมากกว่าในอดีต และเทคโนโลยีคาร์บอนต่ามีการแข่งขันกันสูงในตลาดที่มีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นขณะนี้. มีความจาเป็นที่ต้องลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในภาคส่วนอุตสาหกรรมอย่างเช่น อุตสาหกรรมการบิน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ยากที่สุดที่จะใช้พลังงานที่ไม่ให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์. รายงานในปี 2018 ของอุตสาหกรรมการบินพบว่า แผนการที่จะปรับปรุงเทคโนโลยีและการปฏิบัติการทางการบินจะไม่ทาให้ความต้องการพลังงานฟอสซิลที่คาดหวังไว้และการปลดปล่อยก๊าซจากพลังงานฟอสซิลนี้ลดลงได้ รวมทั้งอุตสาหกรรมหนักได้มีแผนการที่กาลังจะเกิดขึ้นในการดาเนินการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศโลก | + | 5 ปีที่แล้วมีความสำเร็จเกิดขึ้นในด้านการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ได้กลายเป็นพลังงานที่มีราคาถูกกว่าและนำไปใช้ได้ง่ายกว่าแหล่งพลังงานอื่น ๆ มากกว่าที่คาดไว้ รถยนต์ไฟฟ้ากลายเป็นยานพาหนะที่หาได้ง่ายและมีอยู่ทั่วไปมากกว่าในอดีต และเทคโนโลยีที่ปล่อยคาร์บอนต่ำมีการแข่งขันกันสูงในตลาดและกำลังเติบโตเพิ่มขึ้นขณะนี้จากความจำเป็นที่จะต้องลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในภาคอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการบิน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ยากที่สุดที่จะใช้พลังงานโดยไม่ให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รายงานในปี 2018 ของอุตสาหกรรมการบินพบว่า แผนการที่จะปรับปรุงเทคโนโลยีและการปฏิบัติการทางการบินจะไม่ทำให้ความต้องการพลังงานฟอสซิลและการปล่อยก๊าซจากพลังงานฟอสซิลนี้ลดลงได้ ปัจจุบันจึงได้มีแผนการที่กำลังจะเกิดขึ้นในการดำเนินการกับอุตสาหกรรมหนักในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงชั้นบรรยากาศโลก |
| | | |
− | ขณะนี้จากการที่ความตกลงปารีสได้ตั้งเป้าหมายในการที่จะลดจานวนการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์การประชุมของสมัชชาภาคี ณ.เมืองกลาสโกว์ คาดว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างแผนงานในรายละเอียดมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายที่ความตกลงปารีสได้ตั้งเอาไว้. คาถามที่สาคัญสาหรับการประชุมนี้จะรวมไปถึงคาถามที่ว่า ทาอย่างไรที่จะเปลี่ยนจากพลังงานฟอสซิลและทาอย่างไรที่จะเปลี่ยนจากการให้คามั่นสัญญาในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นศูนย์ไปเป็นการ
| + | การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังคงเป็นเรื่องจำเป็นในการหาคำตอบให้กับเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วิถีชีวิตของแต่ละคนครอบคลุมในด่านต่าง ๆ เช่น การบริโภคอาหาร ที่อยู่อาศัย การเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การรับบริการโดยในขณะนี้ข้อตกลงปารีสได้ตั้งเป้าหมายในการที่จะลดจำนวนการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการประชุมของสมัชชาภาคีของผู้นำประเทศต่าง ๆ ณ เมืองกลาสโกว์ จึงคาดว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างแผนงานในรายละเอียดมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายที่ความตกลงปารีสได้ตั้งเอาไว้ คำถามที่สำคัญสำหรับการประชุมนี้ คือ จะทำอย่างไรจึงจะเปลี่ยนจากพลังงานฟอสซิลและทำอย่างไรจะเปลี่ยนจากการให้คำมั่นสัญญาในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นศูนย์ไปเป็นการกระทำอย่างจริงจังและบรรลุผลได้ การพัฒนาในขั้นตอนต่อไปนั้นจำเป็นต้องมีผู้นำจากทุกระดับชั้น ตั้งแต่รายบุคคล ไปจนถึงนักธุรกิจ นักลงทุน รัฐบาล และรวมถึงสมัชชาโลก |
− | | |
− | กระทาอย่างจริงจังและบรรลุผล. การพัฒนาในขั้นต่อไปนั้น จาเป็นต้องมีผู้นาจากทุกระดับชั้นตั้งแต่บุคคลไปจนถึงนักธุรกิจและนักลงทุนและรัฐบาล. การร่วมมือกันระหว่างส่วนบุคคล สถาบันและประเทศจะเป็นกุญแจสาคัญในเรื่องนี้
| |
− | | |
− | หนทางหนึ่งที่จะทาให้เป้าหมายของความตกลงปารีสมีความชัดเจนขึ้นจะเป็นเรื่องของการสนับสนุนให้ประเทศทุกประเทศให้คามั่นสัญญาโดยมีผลผูกพันตามกฎหมายที่จะรับผิดชอบต่อการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในประเทศของตน. ประเทศประชาคมยุโรป ประเทศเม็กซิโก นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้และประเทศอังกฤษ ได้ทาการให้คามั่นสัญญาในความตกลงปารีสโดยมีผลผูกพันตามกฎหมายแล้ว แต่ยังคงไม่ได้วางนโยบายที่จาเป็นในการที่จะบรรลุถึงคามั่นสัญญาที่ให้ไว้นี้ ซึ่งรัฐบาลมีความจาเป็นที่จะต้องให้คามั่นสัญญาโดยมีผลผูกพันตามกฎหมาย
| |
− | | |
− | กุญแจที่จาเป็นในการเจรจาระหว่างการประชุมสมัชชาภาคีเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ COP26 และการประชุมเรื่องความหลากหลายทางด้านชีวภาพหรือ COP15 คือ การร่วมมือกันทางด้านการเงินและเทคโนโลยี. เกือบทุกประเทศที่กาลังพัฒนาต้องการความช่วยเหลือทางด้านการเงินเพื่อที่จะลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การแก้ไขปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการอนุรักษ์และรักษาความหลากหลายทางด้านชีวภาพ
| |
− | | |
− | คาถามที่สาคัญอีกเรื่องหนึ่งในทศวรรษหน้าจะเป็นคาถามว่า เราควรจะกาหนดกรอบวิกฤตทางภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยาอย่างไรเพื่อที่จะไม่ทาลายความหวังของทุกคนและเราควรจะสร้างบรรยากาศที่เกิดความกลัว การสร้างความสามัคคีระหว่างมนุษย์และโลกของเรา การรวบรวมทัศนคติในหลายๆมุมมอง รวมไปถึงทัศนคติของชนพื้นเมืองซึ่งนาไปสู่การแก้ไขปัญหาภูมิอากาศและชีวภาพ จะเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการที่จะบรรลุเป้าหมายโครงการพัฒนาอย่างยั่งยืนองค์กรสหประชาชาติ ซึ่งรวมไปถึงเป้าหมายเกี่ยวกับภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งสัญญาว่าจะ”ไม่ทิ้งคนใดคนหนึ่งไว้ข้างหลัง”ในการที่จะเปลี่ยนแปลงให้เป็นสังคมที่ยั่งยืนมากยิ่งขึ้น
| |
− | | |
− | ลักษณะของงานจะเกี่ยวกับการใช้เรื่องราวจากผู้ให้สื่อข้อมูลที่ไว้ใจได้รวมไปถึงข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อที่จะพิสูจน์ได้ว่านี่คืองานที่จะสามารถบรรลุถึงความสาเร็จได้หรือกาลังที่จะสาเร็จ. ให้ตระหนักถึงความสาเร็จที่ได้รับในอดีตเพื่อที่ว่าความสาเร็จแม่อดีตเพื่อที่จะนาไปสู่เส้นทางการกระทาในอนาคต และเพื่อที่จะให้เกิดความกดดันทุกภาคส่วน ควรที่จะมีการให้รางวัลสาหรับความก้าวหน้าที่นาไปสู่ความสาเร็จ
| |
− | | |
− | เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งที่รัฐบาลควรจะเริ่มที่จะตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิกฤตถ้าสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยาและคนเริ่มที่จะพัฒนาเป้าหมายและการกระทาร่วมกัน
| |
| | | |
| == <big>'''อภิธานศัพท์'''</big> == | | == <big>'''อภิธานศัพท์'''</big> == |
Line 550: |
Line 537: |
| | | |
| การปล่อยมลพิษเป็นลบ เป็นหนึ่งในคำศัพท์ที่ใช้สำหรับกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศของโลก | | การปล่อยมลพิษเป็นลบ เป็นหนึ่งในคำศัพท์ที่ใช้สำหรับกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศของโลก |
| + | |
| + | '''Net-zero''' |
| + | |
| + | แนวคิดในการจัดการเพื่อทำให้เกิดสมดุลในการปล่อยและการกำจัดก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์เป็นค่าสุทธิเท่ากับศูนย์ เราจะบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ได้เมื่อปริมาณก๊าซที่ปล่อยเข้าไปในชั้นบรรยากาศน้อยกว่าปริมาณที่กำจัดออกจากชั้นบรรยากาศ |
| | | |
| '''Paris Agreement''' | | '''Paris Agreement''' |