Line 1: |
Line 1: |
− | == <big>คำนำ</big> == | + | == '''<big>คำนำ</big>''' == |
| การประชุมสมัชชาโลกคือการรวมตัวกันของผู้คนในทุกประเทศทั่วโลกเพื่อถกเถียงปัญหาวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา | | การประชุมสมัชชาโลกคือการรวมตัวกันของผู้คนในทุกประเทศทั่วโลกเพื่อถกเถียงปัญหาวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| '''<big>สมัชชาพลเมืองคืออะไร</big>''' | | '''<big>สมัชชาพลเมืองคืออะไร</big>''' |
Line 13: |
Line 11: |
| | | |
| สมัชชาโลกปี 2021 ประกอบไปด้วยจำนวนสมัชชาแกนนำพลเมือง 100 ท่าน เป็นการรวมตัวของชุมชนระดับท้องถิ่นซึ่งทุกคนสามารถที่จะจัดตั้งได้ทุกพื้นที่ รวมทั้งกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมซึ่งผู้คนเข้าไปมีส่วนร่วมได้ ในปีนี้องค์การสหประชาชาติจะมีการจัดการประชุมผู้นำระดับโลก คือ 1. การประชุมของภาคีในหัวข้อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือที่เรียกว่าการประชุม COP26 และ 2. การประชุมเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ หรือที่เรียกว่าการประชุม COP15 โดยในการที่จะนำไปสู่การเจรจาของการประชุมของทั้งสองนี้ สมัชชาแกนนำ (Core Assembly) ได้รวบรวมคนหนึ่งร้อยคน ซึ่งเป็นตัวแทนภาพรวมของประชากรโลก ให้เรียนรู้เกี่ยวกับวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางชีวภาพ เพื่อที่จะพิจารณาไตร่ตรองและแบ่งปันข้อมูลหลักที่จะนำไปแสดงต่อที่ประชุม COP26 ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสก็อตแลนด์ ในเดือนพฤศจิกายนปี 2021 โดยในปีนี้สมัชชาโลกจะพิจารณาการจัดประชุมในหัวข้อที่ว่า “ทำอย่างไรมนุษยชาติจะแก้ไขปัญหาวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม” | | สมัชชาโลกปี 2021 ประกอบไปด้วยจำนวนสมัชชาแกนนำพลเมือง 100 ท่าน เป็นการรวมตัวของชุมชนระดับท้องถิ่นซึ่งทุกคนสามารถที่จะจัดตั้งได้ทุกพื้นที่ รวมทั้งกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมซึ่งผู้คนเข้าไปมีส่วนร่วมได้ ในปีนี้องค์การสหประชาชาติจะมีการจัดการประชุมผู้นำระดับโลก คือ 1. การประชุมของภาคีในหัวข้อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือที่เรียกว่าการประชุม COP26 และ 2. การประชุมเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ หรือที่เรียกว่าการประชุม COP15 โดยในการที่จะนำไปสู่การเจรจาของการประชุมของทั้งสองนี้ สมัชชาแกนนำ (Core Assembly) ได้รวบรวมคนหนึ่งร้อยคน ซึ่งเป็นตัวแทนภาพรวมของประชากรโลก ให้เรียนรู้เกี่ยวกับวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางชีวภาพ เพื่อที่จะพิจารณาไตร่ตรองและแบ่งปันข้อมูลหลักที่จะนำไปแสดงต่อที่ประชุม COP26 ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสก็อตแลนด์ ในเดือนพฤศจิกายนปี 2021 โดยในปีนี้สมัชชาโลกจะพิจารณาการจัดประชุมในหัวข้อที่ว่า “ทำอย่างไรมนุษยชาติจะแก้ไขปัญหาวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม” |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| <big>'''คำแนะนำเกี่ยวกับจุลสารการเรียนนี้'''</big> | | <big>'''คำแนะนำเกี่ยวกับจุลสารการเรียนนี้'''</big> |
Line 32: |
Line 28: |
| รายละเอียดเพิ่มเติมของความหมายของศัพท์ที่ไฮไลท์เป็นตัวหนา สามารถเข้าไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่บริบทในตอนท้ายของจุลสารเล่มนี้ จุลสารเล่มนี้ใช้หน่วยวัดอุณหภูมิเป็นค่าเซลเซียสหากต้องการแปลงค่าเซลเซียสเป็นฟาเรนไฮน์ให้ไปที่หัวข้ออภิธานศัพท์ | | รายละเอียดเพิ่มเติมของความหมายของศัพท์ที่ไฮไลท์เป็นตัวหนา สามารถเข้าไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่บริบทในตอนท้ายของจุลสารเล่มนี้ จุลสารเล่มนี้ใช้หน่วยวัดอุณหภูมิเป็นค่าเซลเซียสหากต้องการแปลงค่าเซลเซียสเป็นฟาเรนไฮน์ให้ไปที่หัวข้ออภิธานศัพท์ |
| | | |
− | == <big>สรุปเนื้อหาในภาพรวม</big> == | + | == <big>'''สรุปเนื้อหาในภาพรวม'''</big> == |
| '''<big>โลกของเราจะเป็นอย่างไรในปี 2050</big>''' | | '''<big>โลกของเราจะเป็นอย่างไรในปี 2050</big>''' |
| | | |
Line 81: |
Line 77: |
| สืบเนื่องมาจากเป้าหมายในความตกลงปารีสที่ได้ตั้งไว้ การประชุม COP26 ที่เมืองกลาสโกว์ ควรจะเป็นการสร้างแผนงานอย่างละเอียดเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายในความตกลงปารีสนี้ การพิจารณาที่สำคัญในระหว่างการประชุมที่เมืองกลาสโกว์ ได้แก่ จะตกลงกันอย่างไรเกี่ยวกับการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระยะเวลาอันใกล้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โดยการเปลี่ยนจากพลังงานฟอสซิล การพัฒนาคุณภาพของการใช้พลังงาน การจำกัดการตัดไม้ทำลายป่า และการหาวิธีที่จะเปลี่ยนการให้คำมั่นสัญญาที่จะทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นศูนย์ไปเป็นการลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง | | สืบเนื่องมาจากเป้าหมายในความตกลงปารีสที่ได้ตั้งไว้ การประชุม COP26 ที่เมืองกลาสโกว์ ควรจะเป็นการสร้างแผนงานอย่างละเอียดเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายในความตกลงปารีสนี้ การพิจารณาที่สำคัญในระหว่างการประชุมที่เมืองกลาสโกว์ ได้แก่ จะตกลงกันอย่างไรเกี่ยวกับการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระยะเวลาอันใกล้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โดยการเปลี่ยนจากพลังงานฟอสซิล การพัฒนาคุณภาพของการใช้พลังงาน การจำกัดการตัดไม้ทำลายป่า และการหาวิธีที่จะเปลี่ยนการให้คำมั่นสัญญาที่จะทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นศูนย์ไปเป็นการลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง |
| | | |
− | == <big>1. วิกฤตสภาพภูมิอากาศคืออะไร</big> == | + | == <big>'''1. วิกฤตสภาพภูมิอากาศคืออะไร'''</big> == |
| ''ในหัวข้อนี้เราจะจะสำรวจปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” มันคืออะไร และอะไรเป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ และทำไมถึงเป็นเรื่องด่วนที่ต้องนำมาแก้ไข'' | | ''ในหัวข้อนี้เราจะจะสำรวจปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” มันคืออะไร และอะไรเป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ และทำไมถึงเป็นเรื่องด่วนที่ต้องนำมาแก้ไข'' |
| | | |
Line 96: |
Line 92: |
| อุทกภัย ความแห้งแล้ง คลื่นความร้อนและพายุเฮอริเคนเกิดขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติด้วยเช่นกัน แต่วิทยาศาสตร์ทางด้านสภาพภูมิอากาศได้บอกเราว่า การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศทำให้เหตุการณ์สภาพอากาศเลวร้ายมากขึ้น ซึ่งทำให้ประชากร 100 ล้านคนในโลกนี้เสี่ยงต่อการสูญเสียถิ่นที่พักอาศัย ถูกฆ่า หรือ ถูกทำร้าย หรือขาดแคลนอาหาร หรือไม่มีน้ำสะอาดที่จะบริโภค | | อุทกภัย ความแห้งแล้ง คลื่นความร้อนและพายุเฮอริเคนเกิดขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติด้วยเช่นกัน แต่วิทยาศาสตร์ทางด้านสภาพภูมิอากาศได้บอกเราว่า การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศทำให้เหตุการณ์สภาพอากาศเลวร้ายมากขึ้น ซึ่งทำให้ประชากร 100 ล้านคนในโลกนี้เสี่ยงต่อการสูญเสียถิ่นที่พักอาศัย ถูกฆ่า หรือ ถูกทำร้าย หรือขาดแคลนอาหาร หรือไม่มีน้ำสะอาดที่จะบริโภค |
| | | |
− | == <big>2. วิกฤตทางด้านนิเวศวิทยาคืออะไร</big> == | + | == <big>'''2. วิกฤตทางด้านนิเวศวิทยาคืออะไร'''</big> == |
| ''มีผลกระทบอะไรบ้างจากการกระทำของมนุษย์ต่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมโลกเดียวกัน ในหัวข้อนี้เราจะมุ่งศึกษาไปที่ประเด็นว่า ทำไมความหลากหลายทางชีวภาพจึงมีความสำคัญยิ่งต่อสุขภาพของมนุษย์ ความเจริญงอกงามและบทบาทของชุมชนพื้นเมืองทั่วโลก'' | | ''มีผลกระทบอะไรบ้างจากการกระทำของมนุษย์ต่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมโลกเดียวกัน ในหัวข้อนี้เราจะมุ่งศึกษาไปที่ประเด็นว่า ทำไมความหลากหลายทางชีวภาพจึงมีความสำคัญยิ่งต่อสุขภาพของมนุษย์ ความเจริญงอกงามและบทบาทของชุมชนพื้นเมืองทั่วโลก'' |
| | | |
Line 130: |
Line 126: |
| จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลายศตวรรษอันยาวนานของการล่าอาณานิคมและการกีดกันกลุ่มคนต่าง ๆ เกือบ 3 เท่าของชนเผ่าพื้นเมืองมีแนวโน้มที่จะมีชีวิตอาศัยอยู่อย่างยากจนข้นแค้นเป็นอย่างยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับชนเผ่าที่ไม่ใช่ชาวพื้นเมือง วิกฤตด้านความหลากหลายทางชีวภาพมีความผูกพันธ์กับอนาคตของวัฒนธรรมที่หลากหลายอันเป็นเอกลักษณ์ รวมไปถึงระบบองค์ความรู้ ภาษา และอัตลักษณ์ | | จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลายศตวรรษอันยาวนานของการล่าอาณานิคมและการกีดกันกลุ่มคนต่าง ๆ เกือบ 3 เท่าของชนเผ่าพื้นเมืองมีแนวโน้มที่จะมีชีวิตอาศัยอยู่อย่างยากจนข้นแค้นเป็นอย่างยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับชนเผ่าที่ไม่ใช่ชาวพื้นเมือง วิกฤตด้านความหลากหลายทางชีวภาพมีความผูกพันธ์กับอนาคตของวัฒนธรรมที่หลากหลายอันเป็นเอกลักษณ์ รวมไปถึงระบบองค์ความรู้ ภาษา และอัตลักษณ์ |
| | | |
− | == <big>3. ทำไมเราถึงตกอยู่ในวิกฤติภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา</big> == | + | == <big>'''3. ทำไมเราถึงตกอยู่ในวิกฤติภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา'''</big> == |
| ในหัวข้อนี้เราจะทำการค้นหาว่า ทำไมบางโลกทัศน์ที่ครอบงำโลกตั้งแต่ศตวรรษที่ผ่านมาได้สร้างทัศนคติเกี่ยวกับธรรมชาติที่เป็นรากเหง้าไปสู่การเกิดวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา | | ในหัวข้อนี้เราจะทำการค้นหาว่า ทำไมบางโลกทัศน์ที่ครอบงำโลกตั้งแต่ศตวรรษที่ผ่านมาได้สร้างทัศนคติเกี่ยวกับธรรมชาติที่เป็นรากเหง้าไปสู่การเกิดวิกฤตทางสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยา |
| | | |
Line 153: |
Line 149: |
| สิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์นั้นเป็นข้อบังคับเบื้องต้นสำหรับเศรษฐกิจที่ยั่งยืน เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าการใช้ผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ หรือ ผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) เป็นเครื่องวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ต้องเสริมด้วย “หลักความมั่งคั่งอย่างครอบคลุม” ซึ่งหมายถึง ผลรวมของต้นทุนการผลิต ต้นทุนทางธรรมชาติและต้นทุนทางทรัพยากรมนุษย์ โดยต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อม แนวทางนี้จะเป็นมาตรฐานการวัดด้วยว่านโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติมีความยั่งยืนสำหรับเยาวชนในวันนี้และในอนาคตหรือไม่ | | สิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์นั้นเป็นข้อบังคับเบื้องต้นสำหรับเศรษฐกิจที่ยั่งยืน เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าการใช้ผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ หรือ ผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) เป็นเครื่องวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ต้องเสริมด้วย “หลักความมั่งคั่งอย่างครอบคลุม” ซึ่งหมายถึง ผลรวมของต้นทุนการผลิต ต้นทุนทางธรรมชาติและต้นทุนทางทรัพยากรมนุษย์ โดยต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อม แนวทางนี้จะเป็นมาตรฐานการวัดด้วยว่านโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติมีความยั่งยืนสำหรับเยาวชนในวันนี้และในอนาคตหรือไม่ |
| | | |
− | == <big>4. การเจรจาระหว่างประเทศ</big> == | + | == <big>'''4. การเจรจาระหว่างประเทศ'''</big> == |
| ผู้นำของโลกจะพบปะกันที่เมืองกลาสโกว์ในปีนี้เพื่อที่จะหารือเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในประเทศจีนที่ซึ่งจะมีการพูดคุยเกี่ยวกับวิกฤตทางระบบนิเวศวิทยา ในหัวข้อนี้เราจะเรียนรู้ว่าอะไรคือจุดมุ่งหมายของการเจรจาเหล่านี้และจนถึงตอนนี้จุดมุ่งหมายได้บรรลุผลถึงขั้นใดแล้ว | | ผู้นำของโลกจะพบปะกันที่เมืองกลาสโกว์ในปีนี้เพื่อที่จะหารือเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในประเทศจีนที่ซึ่งจะมีการพูดคุยเกี่ยวกับวิกฤตทางระบบนิเวศวิทยา ในหัวข้อนี้เราจะเรียนรู้ว่าอะไรคือจุดมุ่งหมายของการเจรจาเหล่านี้และจนถึงตอนนี้จุดมุ่งหมายได้บรรลุผลถึงขั้นใดแล้ว |
| | | |
Line 207: |
Line 203: |
| นอกเหนือไปจากความหลากหลายทางชีวภาพแล้ว ยังมีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพอื่น ๆ อีก 5 ฉบับ คือ อนุสัญญาแรมซาร์, อนุสัญญาว่าด้วยชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายถิ่น, อนุสัญญาไซเตส, สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร และอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก อย่างไรก็ดียังไม่มีเป้าหมายใดในเรื่องการตกลงระหว่างประเทศที่สำเร็จอย่างเต็มที่ ถึงแม้ว่าจะมีการประชุมระหว่างประเทศอย่างมากมายในเรื่องของความสูญเสียทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นจึงสำคัญยิ่งสำหรับรัฐบาลที่ควรจะเริ่มตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเริ่มพัฒนาเป้าหมายและการกระทำร่วมกันเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาใน 2 ประเด็นนี้ | | นอกเหนือไปจากความหลากหลายทางชีวภาพแล้ว ยังมีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพอื่น ๆ อีก 5 ฉบับ คือ อนุสัญญาแรมซาร์, อนุสัญญาว่าด้วยชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายถิ่น, อนุสัญญาไซเตส, สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร และอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก อย่างไรก็ดียังไม่มีเป้าหมายใดในเรื่องการตกลงระหว่างประเทศที่สำเร็จอย่างเต็มที่ ถึงแม้ว่าจะมีการประชุมระหว่างประเทศอย่างมากมายในเรื่องของความสูญเสียทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นจึงสำคัญยิ่งสำหรับรัฐบาลที่ควรจะเริ่มตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเริ่มพัฒนาเป้าหมายและการกระทำร่วมกันเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาใน 2 ประเด็นนี้ |
| | | |
− | == 5. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยาในด้าน… == | + | == '''<big>5. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและวิกฤตทางนิเวศวิทยาในด้าน…</big>''' == |
| ในหัวข้อนี้เราจะศึกษาระดับของผลกระทบที่เกิดความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและวิกฤตทางชีววิทยาที่มีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพทั่วทุกมุมโลก ผลกระทบเหล่านี้จะรุนแรงมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการลงมือแก้ปัญหาในปัจจุบัน | | ในหัวข้อนี้เราจะศึกษาระดับของผลกระทบที่เกิดความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและวิกฤตทางชีววิทยาที่มีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพทั่วทุกมุมโลก ผลกระทบเหล่านี้จะรุนแรงมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการลงมือแก้ปัญหาในปัจจุบัน |
| | | |
− | | + | ''<big>…สุขภาพและการดำรงชีวิตของมนุษย์</big>'' |
− | | |
− | <big>…สุขภาพและการดำรงชีวิตของมนุษย์</big> | |
| | | |
| การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้ทำลายสุขภาพของมนุษย์ มนุษย์เกิดความเครียดที่เป็นผลมาจากสภาพภูมิอากาศ ซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของโรคภัยไข้เจ็บและและภาวะทุพโภชนาการอันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรง เช่น ความแห้งแล้ง พายุเฮอริเคนและอุทกภัย ความเสี่ยงนี้เพิ่มขึ้นพร้อมกับภาวะโลกที่ร้อนขึ้น | | การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้ทำลายสุขภาพของมนุษย์ มนุษย์เกิดความเครียดที่เป็นผลมาจากสภาพภูมิอากาศ ซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของโรคภัยไข้เจ็บและและภาวะทุพโภชนาการอันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรง เช่น ความแห้งแล้ง พายุเฮอริเคนและอุทกภัย ความเสี่ยงนี้เพิ่มขึ้นพร้อมกับภาวะโลกที่ร้อนขึ้น |
Line 228: |
Line 222: |
| ในปลายปี 2020 นี้ ประมาณ 7 ล้านคนใน 104 ประเทศและอาณาเขต (ดินแดนเขตการปกครองที่ยังไม่ได้รับเอกราชของประเทศใดประเทศหนึ่ง) จะต้องอาศัยอยู่กันอย่างกระจัดกระจายซึ่งเป็นผลมาจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในปี 2019 และในปีก่อนหน้านี้ 5 ประเทศหลัก ๆ ซึ่งมีจำนวนของผู้ลี้ภัยอันเนื่องมาจากภัยพิบัติภายในประเทศที่มากที่สุด ได้แก่ ประเทศอัฟกานิสถาน (1.1 ล้านคน) อินเดีย (929,000 คน), ปากีสถาน (806,000 คน), เอธิโอเปีย (633,000 คน) และประเทศซูดาน (454,000 คน) ในปี 2017 ชาวอเมริกัน 1.5 ล้านคนต้องทำการอพยพอย่างถาวรและชั่วคราวไปยังเมืองอื่น ๆ ในประเทศของตนเนื่องมาจากภัยพิบัตินี้ | | ในปลายปี 2020 นี้ ประมาณ 7 ล้านคนใน 104 ประเทศและอาณาเขต (ดินแดนเขตการปกครองที่ยังไม่ได้รับเอกราชของประเทศใดประเทศหนึ่ง) จะต้องอาศัยอยู่กันอย่างกระจัดกระจายซึ่งเป็นผลมาจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในปี 2019 และในปีก่อนหน้านี้ 5 ประเทศหลัก ๆ ซึ่งมีจำนวนของผู้ลี้ภัยอันเนื่องมาจากภัยพิบัติภายในประเทศที่มากที่สุด ได้แก่ ประเทศอัฟกานิสถาน (1.1 ล้านคน) อินเดีย (929,000 คน), ปากีสถาน (806,000 คน), เอธิโอเปีย (633,000 คน) และประเทศซูดาน (454,000 คน) ในปี 2017 ชาวอเมริกัน 1.5 ล้านคนต้องทำการอพยพอย่างถาวรและชั่วคราวไปยังเมืองอื่น ๆ ในประเทศของตนเนื่องมาจากภัยพิบัตินี้ |
| | | |
− | | + | ''<big>…ความมั่นคงทางอาหาร</big>'' |
− | | |
− | <big>…ความมั่นคงทางอาหาร</big> | |
| | | |
| ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การที่ประชากรทั้งหมดสามารถเข้าถึงการบริโภคอาหารได้อย่างปลอดภัยและถูกต้องตามหลักโภชนาการ พร้อมทั้งตอบสนองต่อความชอบและความต้องการอาหาร เพื่อชีวิตที่มีชีวิตชีวาและมีสุขภาพดี ความมั่นคงทางอาหารถูกคุกคามจากการสูญเสียแมลงผสมเกสรและการสูญเสียผืนดินที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเป็นผลที่มาจากวิกฤตทางนิเวศวิทยา และความสามารถของโลกในการสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นด้านอาหารที่ถูกโภชนาการนั้นจะลดลง เนื่องมาจากความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง | | ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การที่ประชากรทั้งหมดสามารถเข้าถึงการบริโภคอาหารได้อย่างปลอดภัยและถูกต้องตามหลักโภชนาการ พร้อมทั้งตอบสนองต่อความชอบและความต้องการอาหาร เพื่อชีวิตที่มีชีวิตชีวาและมีสุขภาพดี ความมั่นคงทางอาหารถูกคุกคามจากการสูญเสียแมลงผสมเกสรและการสูญเสียผืนดินที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเป็นผลที่มาจากวิกฤตทางนิเวศวิทยา และความสามารถของโลกในการสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นด้านอาหารที่ถูกโภชนาการนั้นจะลดลง เนื่องมาจากความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง |
Line 248: |
Line 240: |
| | | |
| | | |
− | <big>…ความมั่นคงด้านทรัพยากรน้ำ</big> | + | ''<big>…ความมั่นคงด้านทรัพยากรน้ำ</big>'' |
| | | |
| ความมั่นคงด้านทรัพยากรน้ำวัดจากปริมาณน้ำที่มี ความต้องการในการใช้น้ำและคุณภาพของแหล่งน้ำ | | ความมั่นคงด้านทรัพยากรน้ำวัดจากปริมาณน้ำที่มี ความต้องการในการใช้น้ำและคุณภาพของแหล่งน้ำ |
Line 264: |
Line 256: |
| | | |
| | | |
− | <big>…ความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นดินและระบบนิเวศ</big> | + | <big>''…ความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นดินและระบบนิเวศ''</big> |
| | | |
| ระบบนิเวศคือระบบที่ค้ำจุนชีวิตของคนในโลกสำหรับเผ่าพันธุ์มนุษย์และชีวิตอื่น ๆ ทั้งหมด หลายทศวรรษที่ผ่านมามนุษย์ได้ทำการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยาตามธรรมชาติอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์ในด้านชีวิตความเป็นอยู่ เช่น การมีอายุขัยที่เพิ่มขึ้นและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ดีไม่ใช่คนทุกกลุ่มในโลกได้รับประโยชน์จากกระบวนการนี้และมีประชากรมากมายได้รับอันตราย สิ่งที่โลกต้องจ่ายสำหรับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เริ่มจะเห็นได้ชัดขึ้นเรื่อย ๆ เศรษฐกิจความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความเจริญก้าวหน้าของสังคมกลายเป็นภาระที่โลกต้องจ่ายเพื่อจะรักษาความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ | | ระบบนิเวศคือระบบที่ค้ำจุนชีวิตของคนในโลกสำหรับเผ่าพันธุ์มนุษย์และชีวิตอื่น ๆ ทั้งหมด หลายทศวรรษที่ผ่านมามนุษย์ได้ทำการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยาตามธรรมชาติอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์ในด้านชีวิตความเป็นอยู่ เช่น การมีอายุขัยที่เพิ่มขึ้นและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ดีไม่ใช่คนทุกกลุ่มในโลกได้รับประโยชน์จากกระบวนการนี้และมีประชากรมากมายได้รับอันตราย สิ่งที่โลกต้องจ่ายสำหรับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เริ่มจะเห็นได้ชัดขึ้นเรื่อย ๆ เศรษฐกิจความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความเจริญก้าวหน้าของสังคมกลายเป็นภาระที่โลกต้องจ่ายเพื่อจะรักษาความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ |
Line 276: |
Line 268: |
| | | |
| | | |
− | <big>…มหาสมุทรและสิ่งมีชีวิตทางทะเล</big> | + | <big>''…มหาสมุทรและสิ่งมีชีวิตทางทะเล''</big> |
| | | |
| มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของความหลากหลายทางชีวภาพเริ่มจากจุลินทรีย์ไปถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลและระบบนิเวศวิทยาที่หลากหลาย โดย 2 ใน 3 ของมหาสมุทรทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่ร้ายแรง คือ การจับปลามากเกินไปหรือการประมงเกินขนาด การติดตั้งระบบสาธารณูปโภคและการขนส่งแถบชายฝั่งและนอกชายฝั่ง ภาวะความเป็นกรดในมหาสมุทรขยะและการไหลบ่าของแร่ธาตุลงสู่มหาสมุทร โดย 1 ใน 3 ของปลาทะเลในโลกถูกล่ามากเกินไปในปี 2015 ทำให้เกิดการขาดแคลนปริมาณปลาทะเลที่กักเก็บไว้สำหรับบริโภค ซึ่งส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร แร่ธาตุจากปุ๋ยที่ไหลลงไปสู่ระบบนิเวศวิทยาชายฝั่งทำให้เกิด “พื้นที่มรณะ” (dead zone) มากกว่า 400 แห่ง รวมแล้วมากกว่า 245,000 กิโลเมตร ซึ่งใหญ่กว่าขนาดของประเทศเอกวาดอร์หรือประเทศอังกฤษ โดยในปี 2021 เกิดการรั่วไหลของปุ๋ยจากโรงงานปุ๋ยที่ถูกทิ้งร้างในรัฐฟลอริดา ซึ่งทำให้เกิดดอกสาหร่ายที่เป็นปรากฏการณ์น้ำสีเขียวที่เป็นอันตรายต่อมหาสมุทรทำให้สัตว์น้ำตายไปหลายตัน | | มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของความหลากหลายทางชีวภาพเริ่มจากจุลินทรีย์ไปถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลและระบบนิเวศวิทยาที่หลากหลาย โดย 2 ใน 3 ของมหาสมุทรทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่ร้ายแรง คือ การจับปลามากเกินไปหรือการประมงเกินขนาด การติดตั้งระบบสาธารณูปโภคและการขนส่งแถบชายฝั่งและนอกชายฝั่ง ภาวะความเป็นกรดในมหาสมุทรขยะและการไหลบ่าของแร่ธาตุลงสู่มหาสมุทร โดย 1 ใน 3 ของปลาทะเลในโลกถูกล่ามากเกินไปในปี 2015 ทำให้เกิดการขาดแคลนปริมาณปลาทะเลที่กักเก็บไว้สำหรับบริโภค ซึ่งส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร แร่ธาตุจากปุ๋ยที่ไหลลงไปสู่ระบบนิเวศวิทยาชายฝั่งทำให้เกิด “พื้นที่มรณะ” (dead zone) มากกว่า 400 แห่ง รวมแล้วมากกว่า 245,000 กิโลเมตร ซึ่งใหญ่กว่าขนาดของประเทศเอกวาดอร์หรือประเทศอังกฤษ โดยในปี 2021 เกิดการรั่วไหลของปุ๋ยจากโรงงานปุ๋ยที่ถูกทิ้งร้างในรัฐฟลอริดา ซึ่งทำให้เกิดดอกสาหร่ายที่เป็นปรากฏการณ์น้ำสีเขียวที่เป็นอันตรายต่อมหาสมุทรทำให้สัตว์น้ำตายไปหลายตัน |
Line 290: |
Line 282: |
| การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอดีตและในอนาคตจะเป็นความเสียหายที่ไม่สามารถย้อนกลับมาได้ในอีกหลายพันปีข้างหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของมหาสมุทร ธารน้ำแข็ง และระดับน้ำทะเลของโลก | | การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอดีตและในอนาคตจะเป็นความเสียหายที่ไม่สามารถย้อนกลับมาได้ในอีกหลายพันปีข้างหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของมหาสมุทร ธารน้ำแข็ง และระดับน้ำทะเลของโลก |
| | | |
− | == <big>6. สถานการณ์และแนวทางต่าง ๆ</big> == | + | == <big>'''6. สถานการณ์และแนวทางต่าง ๆ'''</big> == |
| สถานการณ์จำลองเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและแนวทางการบรรเทาปัญหาสภาพภูมิอากาศสำหรับอนาคตมีอะไรบ้าง รวมถึงมีความท้าทายและความไม่แน่นอนอย่างไร | | สถานการณ์จำลองเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและแนวทางการบรรเทาปัญหาสภาพภูมิอากาศสำหรับอนาคตมีอะไรบ้าง รวมถึงมีความท้าทายและความไม่แน่นอนอย่างไร |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| <big>A. แบบจำลองภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงที่คาดการณ์ด้านการปล่อยก๊าซมลพิษและอุณหภูมิชั้นบรรยากาศ</big> | | <big>A. แบบจำลองภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงที่คาดการณ์ด้านการปล่อยก๊าซมลพิษและอุณหภูมิชั้นบรรยากาศ</big> |
Line 307: |
Line 297: |
| * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษระดับ “ปานกลาง” โดยกำหนดให้ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์อยู่ในระดับเดียวกับปัจจุบันไปจนกระทั่งตอนกลางของศตวรรษ จากนั้นค่อย ๆ ลดลง อย่างช้า ๆ จะพบว่าระดับอุณภูมิของโลกจะขึ้นไปอยู่ที่ 2.1 – 3.5 องศาภายในปี 2100 | | * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษระดับ “ปานกลาง” โดยกำหนดให้ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์อยู่ในระดับเดียวกับปัจจุบันไปจนกระทั่งตอนกลางของศตวรรษ จากนั้นค่อย ๆ ลดลง อย่างช้า ๆ จะพบว่าระดับอุณภูมิของโลกจะขึ้นไปอยู่ที่ 2.1 – 3.5 องศาภายในปี 2100 |
| * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษระดับ “ต่ำ” โดยชาวโลกร่วมมือกันตั้งแต่ปี 2020 เป็นต้นไปในการลดการปล่อยคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ จะพบว่าการปล่อยคาร์บอนไดสุทธิจะไปถึงระดับที่เป็น “ศูนย์” (net-zero) ได้ภายในปี 2075 และอุณหภูมิของโลกจะขึ้นไปที่ระดับ 1.3 – 2.4 องศาเซลเซียสภายในปี 2100 | | * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษระดับ “ต่ำ” โดยชาวโลกร่วมมือกันตั้งแต่ปี 2020 เป็นต้นไปในการลดการปล่อยคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ จะพบว่าการปล่อยคาร์บอนไดสุทธิจะไปถึงระดับที่เป็น “ศูนย์” (net-zero) ได้ภายในปี 2075 และอุณหภูมิของโลกจะขึ้นไปที่ระดับ 1.3 – 2.4 องศาเซลเซียสภายในปี 2100 |
− | * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษในระดับ “ต่ำมาก” การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์จากลดลงอย่างรวดเร็วจากปี 2020 และจะเข้าสู่ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ็อกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (net-zero) ได้ประมาณปี 2050 โดยระดับอุณหภูมิของโลกจะขึ้นไปอยู่ที่ 1.0 – 1.8 องศาเซลเซียสในช่วงท้ายของศตวรรษนี้ | + | * ในสถานการณ์จำลองการปล่อยมลพิษในระดับ “ต่ำมาก” การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์จากลดลงอย่างรวดเร็วจากปี 2020 และจะเข้าสู่ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ็อกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (net-zero) ได้ประมาณปี 2050 โดยระดับอุณหภูมิของโลกจะขึ้นไปอยู่ที่ 1.0 – 1.8 องศาเซลเซียสในช่วงท้ายของศตวรรษนี้<br /> |
− | | |
− | | |
− | | |
| <big>B. ความท้าทายและการได้อย่างเสียอย่าง</big> | | <big>B. ความท้าทายและการได้อย่างเสียอย่าง</big> |
| | | |
Line 338: |
Line 325: |
| | | |
| การขาดการร่วมมือกันในระดับโลก รวมถึงการมีวิถีชีวิตที่เพิ่มการใช้คาร์บอนไดออกไซด์อย่างต่อเนื่อง ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นไม่เกิน 1.5 องศา หากการให้คำมั่นสัญญาในปัจจุบันภายใต้ข้อตกลงปารีสในการตั้งเป้าหมายของแต่ละประเทศในการลดปัญหาโลกร้อนบรรลุผลได้ โลกเราก็ยังคงจะไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้สูงขึ้นไม่เกิน 1.5 องศาได้ และอาจจะก้าวขึ้นไปถึงอุณหภูมิระดับ 3 องศา ซึ่งจะเกินเป้าหมายของข้อตกลงปารีสไปมาก และยังเกินระดับที่จะถือว่าปลอดภัยสำหรับมนุษยชาติด้วย | | การขาดการร่วมมือกันในระดับโลก รวมถึงการมีวิถีชีวิตที่เพิ่มการใช้คาร์บอนไดออกไซด์อย่างต่อเนื่อง ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นไม่เกิน 1.5 องศา หากการให้คำมั่นสัญญาในปัจจุบันภายใต้ข้อตกลงปารีสในการตั้งเป้าหมายของแต่ละประเทศในการลดปัญหาโลกร้อนบรรลุผลได้ โลกเราก็ยังคงจะไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้สูงขึ้นไม่เกิน 1.5 องศาได้ และอาจจะก้าวขึ้นไปถึงอุณหภูมิระดับ 3 องศา ซึ่งจะเกินเป้าหมายของข้อตกลงปารีสไปมาก และยังเกินระดับที่จะถือว่าปลอดภัยสำหรับมนุษยชาติด้วย |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| <big>C. ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับการปล่อยมลพิษเป็นลบ</big> | | <big>C. ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับการปล่อยมลพิษเป็นลบ</big> |
Line 346: |
Line 331: |
| | | |
| นักวิทยาศาสตร์หลายคนกังวลว่าการให้คำมั่นสัญญาในอนาคตเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ดังเช่นการเอาก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศ จะทำให้การลงมือทำในสิ่งที่จะต้องทำเกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจะยิ่งช้าไปอีก ในอดีตอุตสาหกรรมที่มีอำนาจมากเคยใช้การให้คำมั่นสัญญาในเรื่องการใช้เทคโนโลยีผลิตน้ำมันและเชื้อเพลิงเพื่อที่จะได้มีความชอบธรรมในการผลิตต่อไป เทคโนโลยีเฉกเช่น “ตัวดักจับคาร์บอน” ยังไม่สามารถเกิดขึ้นในระดับที่ใช้งานได้จริงได้อย่างแพร่หลาย ดังนั้นจึงเกิดคำถามสำคัญตามมาว่าเราจะพึ่งพาเทคโนโลยีเหล่านั้นได้จริงหรือไม่ | | นักวิทยาศาสตร์หลายคนกังวลว่าการให้คำมั่นสัญญาในอนาคตเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ดังเช่นการเอาก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศ จะทำให้การลงมือทำในสิ่งที่จะต้องทำเกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจะยิ่งช้าไปอีก ในอดีตอุตสาหกรรมที่มีอำนาจมากเคยใช้การให้คำมั่นสัญญาในเรื่องการใช้เทคโนโลยีผลิตน้ำมันและเชื้อเพลิงเพื่อที่จะได้มีความชอบธรรมในการผลิตต่อไป เทคโนโลยีเฉกเช่น “ตัวดักจับคาร์บอน” ยังไม่สามารถเกิดขึ้นในระดับที่ใช้งานได้จริงได้อย่างแพร่หลาย ดังนั้นจึงเกิดคำถามสำคัญตามมาว่าเราจะพึ่งพาเทคโนโลยีเหล่านั้นได้จริงหรือไม่ |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| <big>D. อะไรที่เราสามารถจะทำนายได้ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต</big> | | <big>D. อะไรที่เราสามารถจะทำนายได้ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต</big> |
Line 370: |
Line 353: |
| | | |
| วงจรสะท้อนกลับนี้ ไม่ได้เป็นระบบแน่นอน ซึ่งหมายความว่าวงจรสะท้อนกลับนี้สามารถเกิดได้อย่างรวดเร็วและฉับพลัน และเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในรูปแบบที่วิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำนายได้ นั่นจึงหมายความว่าในปัจจุบันเราจึงอาจจะอยู่ในช่วงของจุดพลิกผันแล้วก็ได้ ซึ่งจะทำให้เกิดความเสี่ยงที่ส่งผลให้เกิดโลกที่ไม่สามารถอาศัยอยู่ได้ เนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขได้ | | วงจรสะท้อนกลับนี้ ไม่ได้เป็นระบบแน่นอน ซึ่งหมายความว่าวงจรสะท้อนกลับนี้สามารถเกิดได้อย่างรวดเร็วและฉับพลัน และเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในรูปแบบที่วิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำนายได้ นั่นจึงหมายความว่าในปัจจุบันเราจึงอาจจะอยู่ในช่วงของจุดพลิกผันแล้วก็ได้ ซึ่งจะทำให้เกิดความเสี่ยงที่ส่งผลให้เกิดโลกที่ไม่สามารถอาศัยอยู่ได้ เนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขได้ |
− |
| |
− |
| |
| | | |
| ในอีก 10 ปีข้างหน้า จำเป็นอย่างยิ่งที่วิธีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศช่วยให้เราตัดสินใจได้ดีที่สุดในภาวะปัจจุบันนี้ แม้ว่าจะยังคงเป็นไปได้ที่จะเราจะไม่สามารถทำนายถึงเหตุการณ์ในอนาคตได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ความเข้าใจนี้สร้างความรู้สึกที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่คงยังมีโอกาสที่จะบรรลุความสำเร็จในการแก้ปัญหา ยังคงมีเวลาพอที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้ ถ้ามีการกระทำอย่างจริงจังเกิดขึ้นในขณะนี้ | | ในอีก 10 ปีข้างหน้า จำเป็นอย่างยิ่งที่วิธีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศช่วยให้เราตัดสินใจได้ดีที่สุดในภาวะปัจจุบันนี้ แม้ว่าจะยังคงเป็นไปได้ที่จะเราจะไม่สามารถทำนายถึงเหตุการณ์ในอนาคตได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ความเข้าใจนี้สร้างความรู้สึกที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่คงยังมีโอกาสที่จะบรรลุความสำเร็จในการแก้ปัญหา ยังคงมีเวลาพอที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้ ถ้ามีการกระทำอย่างจริงจังเกิดขึ้นในขณะนี้ |
| | | |
− | == 7. การกระทำอะไรที่ได้ดำเนินการไปแล้ว == | + | == '''<big>7. การกระทำอะไรที่ได้ดำเนินการไปแล้ว</big>''' == |
| 6 ปีผ่านมาแล้วหลังจากที่ได้มีการสร้างข้อตกลงปารีส มีการดำเนินงานอย่างไรบ้างของประเทศต่าง ๆ ในโลก เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดภาวะการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และอะไรที่พวกเราจำเป็นต้องทำให้มากกว่านี้ | | 6 ปีผ่านมาแล้วหลังจากที่ได้มีการสร้างข้อตกลงปารีส มีการดำเนินงานอย่างไรบ้างของประเทศต่าง ๆ ในโลก เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดภาวะการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และอะไรที่พวกเราจำเป็นต้องทำให้มากกว่านี้ |
| | | |
Line 423: |
Line 404: |
| นอกเหนือจากการสร้างแรงกดดันต่อรัฐบาลเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และการใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงและสิทธิพลเมืองแล้วนั้น แต่ละบุคคลสามารถที่จะเปลี่ยนการเปลี่ยนแปลงโลกของเราไปสู่การใช้คาร์บอนระดับต่ำในอนาคตได้โดยการกระทำของแต่ละบุคคล แต่ละบุคคลมีบทบาทในการที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประชากรในหลายประเทศจะมีบทบาทในการลดก๊าซนี้มากน้อยเท่าใดขึ้นอยู่กับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของแต่ละคน เช่น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารของตัวเอง เช่น การทานอาหารให้น้อยลงหรือไม่ทานเนื้อสัตว์ และพฤติกรรมในการเดินทาง เช่น ลดการขับรถให้น้อยลงหรือลดการเดินทางโดยเครื่องบินให้น้อยลง หรือลดพฤติกรรมการกินทิ้งกินขว้าง และลดพฤติกรรมในการใช้น้ำและพลังงานที่มากเกินไป พฤติกรรมเหล่านี้สามารถช่วยอนุรักษ์และปกป้องความหลากหลายทางด้านชีวภาพ ประชาชนทุกคนควรที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหล่านี้ได้โดยการปลูกจิตสานึกในชุมชนของตนเอง | | นอกเหนือจากการสร้างแรงกดดันต่อรัฐบาลเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และการใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงและสิทธิพลเมืองแล้วนั้น แต่ละบุคคลสามารถที่จะเปลี่ยนการเปลี่ยนแปลงโลกของเราไปสู่การใช้คาร์บอนระดับต่ำในอนาคตได้โดยการกระทำของแต่ละบุคคล แต่ละบุคคลมีบทบาทในการที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประชากรในหลายประเทศจะมีบทบาทในการลดก๊าซนี้มากน้อยเท่าใดขึ้นอยู่กับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของแต่ละคน เช่น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารของตัวเอง เช่น การทานอาหารให้น้อยลงหรือไม่ทานเนื้อสัตว์ และพฤติกรรมในการเดินทาง เช่น ลดการขับรถให้น้อยลงหรือลดการเดินทางโดยเครื่องบินให้น้อยลง หรือลดพฤติกรรมการกินทิ้งกินขว้าง และลดพฤติกรรมในการใช้น้ำและพลังงานที่มากเกินไป พฤติกรรมเหล่านี้สามารถช่วยอนุรักษ์และปกป้องความหลากหลายทางด้านชีวภาพ ประชาชนทุกคนควรที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเหล่านี้ได้โดยการปลูกจิตสานึกในชุมชนของตนเอง |
| | | |
− | == 8. การกระจายความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นธรรม == | + | == '''<big>8. การกระจายความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นธรรม</big>''' == |
| ในศตวรรษที่ผ่านมา บางประเทศมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นจำนวนมากและประเทศอื่นเริ่มทำการปล่อยก๊าซพิษนี้ตามลำดับ ซึ่งเหตุผลของการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซทั่วโลกทุก ๆ ปีในขณะนี้ เป็นสาเหตุมาจากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทวีปเอเชีย ตะวันออกกลาง ทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซพิษในศตวรรษนี้เกือบทั้งหมดจะมาจากประเทศที่กำลังพัฒนา | | ในศตวรรษที่ผ่านมา บางประเทศมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นจำนวนมากและประเทศอื่นเริ่มทำการปล่อยก๊าซพิษนี้ตามลำดับ ซึ่งเหตุผลของการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซทั่วโลกทุก ๆ ปีในขณะนี้ เป็นสาเหตุมาจากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทวีปเอเชีย ตะวันออกกลาง ทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซพิษในศตวรรษนี้เกือบทั้งหมดจะมาจากประเทศที่กำลังพัฒนา |
| | | |